บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
วันที่ 18 เมษายน 2559 (ชดเชยวันที่ 20 เมษายน 2559)
เวลา 14.30 น.- 17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
1. หน่วยยานพาหนะ(Vehicles)
สอนวันศุกร์ โดยนางสาวประภัสสร หนูศิริ เล่านิทานให้เด็กฟัง
สิ่งที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
-นิทานที่ครูเล่าไม่สอดคล้องกับเนื้อหาข้อควรระวังของยานพาหนะ
-ข้อควรระวังของยานพาหนะ เช่น เวลาขับรถไม่ควรเกินความเร็วที่กำหนด เป็นต้น
-ฉากของนิทาน ควรทำให้มีมิติกว่าเดิม
-ควรสอนให้เด็กรู้จักสัญญาณไฟจราจรด้วย
สิ่งที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
-นิทานที่ครูเล่าไม่สอดคล้องกับเนื้อหาข้อควรระวังของยานพาหนะ
-ข้อควรระวังของยานพาหนะ เช่น เวลาขับรถไม่ควรเกินความเร็วที่กำหนด เป็นต้น
-ฉากของนิทาน ควรทำให้มีมิติกว่าเดิม
-ควรสอนให้เด็กรู้จักสัญญาณไฟจราจรด้วย
2. หน่วยส้ม(Orange)
สอนวันศุกร์ โดย นางสาวบุษราคัม สารุโณ ทำน้ำส้มคั้น
สิ่งที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
- แผ่นชาร์ท ควรแก้ไขตรงคำว่าอุปกรณ์ เป็นส่วนผสม เพราะ เป็นส้มเขียวหวานและเกลือ
- ส่วนคำว่าอุปกรณ์ ก็คือ มีด แก้ว ที่คั้นน้ำส้ม
-ครูควรใช้คำถามปลายเปิดให้เด็กได้คิด และบอกอัตราส่วนผสมว่าต้องใช้ปริมาณเท่าไหร่ในการทำน้ำส้ม 1 แก้ว
- ขั้นตอนการทำน้ำส้มควรเขียนเป็นข้อๆพร้อมรูปภาพประกอบด้วย ไม่ใช่เขียนความเรียงเพราะเด็กยังอ่านไม่ออก
- เมื่อสอนเสร็จครูควรถามทบทวนเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำส้มคั้นอีกรอบ/ ให้เด็กออกมาพูด
สิ่งที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
- แผ่นชาร์ท ควรแก้ไขตรงคำว่าอุปกรณ์ เป็นส่วนผสม เพราะ เป็นส้มเขียวหวานและเกลือ
- ส่วนคำว่าอุปกรณ์ ก็คือ มีด แก้ว ที่คั้นน้ำส้ม
-ครูควรใช้คำถามปลายเปิดให้เด็กได้คิด และบอกอัตราส่วนผสมว่าต้องใช้ปริมาณเท่าไหร่ในการทำน้ำส้ม 1 แก้ว
- ขั้นตอนการทำน้ำส้มควรเขียนเป็นข้อๆพร้อมรูปภาพประกอบด้วย ไม่ใช่เขียนความเรียงเพราะเด็กยังอ่านไม่ออก
- เมื่อสอนเสร็จครูควรถามทบทวนเกี่ยวกับวิธีการทำน้ำส้มคั้นอีกรอบ/ ให้เด็กออกมาพูด
3. หน่วยกล้วย (Banana)
สอนวันศุกร์ โดย นางสาวสุทธิดารัตน์ เกิดบุญมี สอนการทำกล้วยเชื่อม
ก่อนจะสอนต้องแนะนำวัตถุดิบ อุปกรณ์ให้เด็กรู้จัก
ก่อนจะสอนต้องแนะนำวัตถุดิบ อุปกรณ์ให้เด็กรู้จัก
-การทำกล้วยเชื่อม ต้องเขียนสัดส่วนปริมาณที่จะทำให้ชัดเจน
-การเขียนแผ่นชาร์ทเขียนจากบนลงล่าง ไม่ควรเขียน 2ฝั่ง เพราะไม่ใช่การเปรียบเทียบ
-ขั้นตอนการทำ ครูควรแบ่งเด้กออกเป็นกลุ่ม เพื่อให้เด็กได้มีส่วนร่วม
-ในขั้นตอนการทำครูควรพูดถึงกระบวนทางวิทยาศาสตร์ด้วย เช่น การตั้งประเด็นปัญหา เช่น จำทำอย่างไรให้กล้วยสุก ทำอย่างไรให้กล้วยเป็นของหวาน
-ระหว่างที่ทำให้เด็กสังเกตตอนที่ใส่กล้วยลงกระทะด้วย เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง จะได้เก้บรวบรวมข้อมูล
-ครูควรให้เด็กแต่ละกลุ่มเวียนหน้าที่กัน เพื่อให้เด็กทุกคนได้ทำทุกขั้นตอน
-การเขียนแผ่นชาร์ทเขียนจากบนลงล่าง ไม่ควรเขียน 2ฝั่ง เพราะไม่ใช่การเปรียบเทียบ
-ขั้นตอนการทำ ครูควรแบ่งเด้กออกเป็นกลุ่ม เพื่อให้เด็กได้มีส่วนร่วม
-ในขั้นตอนการทำครูควรพูดถึงกระบวนทางวิทยาศาสตร์ด้วย เช่น การตั้งประเด็นปัญหา เช่น จำทำอย่างไรให้กล้วยสุก ทำอย่างไรให้กล้วยเป็นของหวาน
-ระหว่างที่ทำให้เด็กสังเกตตอนที่ใส่กล้วยลงกระทะด้วย เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง จะได้เก้บรวบรวมข้อมูล
-ครูควรให้เด็กแต่ละกลุ่มเวียนหน้าที่กัน เพื่อให้เด็กทุกคนได้ทำทุกขั้นตอน
4.หน่วยผีเสื้อ (Butterfly)
สอนวันศุกร์ โดย นางสาวดวงกมล คันตะลี สอนขนมปังปิ้ง
-แผ่นชาร์ทเขียนติดกันจนเกินไป
-ขั้นนำ ครู นำ วัตถุดิบ อุปกรณ์ แล้วถามเด็กๆว่า วิตถุดิบอุปกรณ์ที่ครูเตรียมมาสามารถไปทำอะไรได้บ้างคะ
-เมื่อครูสอน ครูสาธิตให้เด็กดู โดยแบ่งเด็กเป็น 4 กลุ่ม
1.วาดรูปส่วนผสมและอุปกรณ์
2.นำขนมเข้าเครื่องปิ้ง
3.ทาเนย
4.วาดรูปผีเสื้อลงบนขนมปัง ให้เด็กเปลี่ยนกันจนครบทุกกลุ่ม
-ครูถามเด็ก ทำอย่างไรให้ขนมปังสุก
-เมื่อนำขนมผังใส่เตาให้เด็กสังเกตด้วย ว่าก่อนใส่และหลังใส่แตกต่างอย่างไร
สิ่งที่นำไปพัฒนา
ได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ เช่น การตั้งคำถามปลายเปิดให้เด็กได้คิด การเขียนแผ่นชาร์ทที่ถูกต้อง การแบ่งกลุ่มเด็กในการทำ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในอนาคตได้
การประเมิน
การประเมินตนเอง ตั้งใจฟังเพื่อนสอนและให้ความร่วมมือ ได้กินขนมปังปิ้งแสนอร่อย และได้รับความรู้จากที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
ประเมินเพื่อน เพื่อนแต่ละกลุ่มตั้งใจสอน และฟังคำแนะจากอาจารย์และนำไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป
ประเมินอาจารย์ อาจารย์ตั้งใจสอน ให้คำแนะนำนักศึกษาทุกครั้ง ใส่ใจนักศึกษาทุกคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น