บันทึกอนุทินครั้ง ที่ 6
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559
เวลา 14.30 น.-17.30 น.
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ตรวจแผนและให้เเต่ละกลุ่มออกมาสอน วันนี้สอนเนื้อหาของวันจันทร์กิจกรรมที่สอนคือกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ก่อนที่จะเริ่มการสอนครูต้องมีเทคนิคในการให้เด็กจับกลุ่ม และอาจารย์ก็สาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง
เมื่อแต่ละกลุ่มออกมาสอน อาจารย์ก็ให้คำแนะนำดังนี้
1.หน่วยยานพาหนะ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย เนื้อหาการบรรยายต้องใส่ไว้ภาคผนวกด้วย ตอนแรกที่สอนให้เด็กเคลื่อนไหวด้วยกิจกรรมพื้นฐาน เคาะจังหวะ เร็ว-ช้า จังหวะปกติเมื่อเด็กได้ยินเด้กก็ปฎิบัติตามและเปรียบเทียบจังหวะได้ ถ้าสอน อ.1 ควรอธิบายยกตัวอย่างให้เด็กดูด้วย อ.2 ให้เด็กฟังสัญญาณเคาะไปเลยเด็กรู้สัญญาณอยู่แล้ว เวลาสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กอนุบสล ห้ามใช้เวลาเกิน 20 นาที
2. หน่วยผัก
การสอนควรยึดหลักตามความเป็นจริง จะสั่งให้ผักเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ครูควรใช้คำพูดที่ให้สามารถทำให้ผักได้เคลื่อนที่ได้ เช่น มีคนเก็บผักใส่กระตร้าจากนั้นก็เดินทางไปเก็บผักอย่างอื่นต่อ หรือ เมื่อเก็บผักเด็กๆถือผัก เด็กๆก็จินตนาการในการถือผัก บางคนแบก บางคนถือ และการสอนทุกครั้งก็ต้องสอนตามแผนที่เขียนไว้ด้วย แล้วก็นำมาแก้ไขทุกครั้งว่าควรเพิ่มเติมอะไรบ้าง จะได้นำมาแก้ไขในการสอน
ครั้งต่อไป
3.หน่วยผีเสื้อ
ครูจะต้องฝึกและรู้วิธีการเคาะจังหววะที่หลากหลาย ให้เด็กทำตามข้อตกลงที่ครูบอกไว้
4. หน่วยเห็ด
ครูต้องฝึกการเคาะให้เป็นจังหวะ และฝึกการเคาะที่หลากหลาย ถ้าให้เด็กเต้นตามจินตนาการ ครูไม่จำเป็นต้องทำท่าทางเต้นให้เด็กดู กลุ่มนี้ดีที่แต่งเพลงด้วยตนเอง
เพลง เห็ดแสนอร่อย
ว๊าวนั่นเห็ด เห็ดแสนอร่อย
กินบ่อยๆร่างกายแข็งแรง
เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู เห็ดมันปู เห็ดเข็มทอง
เด็กๆอยากลอง ว๊าวๆๆๆ
เมื่อเด็กได้ลอง วู๊ๆๆๆๆๆ หนูชอบกินเห็ด
(ผู้แต่ง นางสาววรรวิภา โพธิ์งาม/นางสาวพิชากรแก้วน้อย)
การประเมิน
วันนี้อาจารย์ได้ตรวจแผนและให้เเต่ละกลุ่มออกมาสอน วันนี้สอนเนื้อหาของวันจันทร์กิจกรรมที่สอนคือกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ก่อนที่จะเริ่มการสอนครูต้องมีเทคนิคในการให้เด็กจับกลุ่ม และอาจารย์ก็สาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง
เมื่อแต่ละกลุ่มออกมาสอน อาจารย์ก็ให้คำแนะนำดังนี้
1.หน่วยยานพาหนะ
การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย เนื้อหาการบรรยายต้องใส่ไว้ภาคผนวกด้วย ตอนแรกที่สอนให้เด็กเคลื่อนไหวด้วยกิจกรรมพื้นฐาน เคาะจังหวะ เร็ว-ช้า จังหวะปกติเมื่อเด็กได้ยินเด้กก็ปฎิบัติตามและเปรียบเทียบจังหวะได้ ถ้าสอน อ.1 ควรอธิบายยกตัวอย่างให้เด็กดูด้วย อ.2 ให้เด็กฟังสัญญาณเคาะไปเลยเด็กรู้สัญญาณอยู่แล้ว เวลาสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กอนุบสล ห้ามใช้เวลาเกิน 20 นาที
2. หน่วยผัก
การสอนควรยึดหลักตามความเป็นจริง จะสั่งให้ผักเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ครูควรใช้คำพูดที่ให้สามารถทำให้ผักได้เคลื่อนที่ได้ เช่น มีคนเก็บผักใส่กระตร้าจากนั้นก็เดินทางไปเก็บผักอย่างอื่นต่อ หรือ เมื่อเก็บผักเด็กๆถือผัก เด็กๆก็จินตนาการในการถือผัก บางคนแบก บางคนถือ และการสอนทุกครั้งก็ต้องสอนตามแผนที่เขียนไว้ด้วย แล้วก็นำมาแก้ไขทุกครั้งว่าควรเพิ่มเติมอะไรบ้าง จะได้นำมาแก้ไขในการสอน
ครั้งต่อไป
3.หน่วยผีเสื้อ
ครูจะต้องฝึกและรู้วิธีการเคาะจังหววะที่หลากหลาย ให้เด็กทำตามข้อตกลงที่ครูบอกไว้
4. หน่วยเห็ด
ครูต้องฝึกการเคาะให้เป็นจังหวะ และฝึกการเคาะที่หลากหลาย ถ้าให้เด็กเต้นตามจินตนาการ ครูไม่จำเป็นต้องทำท่าทางเต้นให้เด็กดู กลุ่มนี้ดีที่แต่งเพลงด้วยตนเอง
เพลง เห็ดแสนอร่อย
ว๊าวนั่นเห็ด เห็ดแสนอร่อย
กินบ่อยๆร่างกายแข็งแรง
เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู เห็ดมันปู เห็ดเข็มทอง
เด็กๆอยากลอง ว๊าวๆๆๆ
เมื่อเด็กได้ลอง วู๊ๆๆๆๆๆ หนูชอบกินเห็ด
(ผู้แต่ง นางสาววรรวิภา โพธิ์งาม/นางสาวพิชากรแก้วน้อย)
การประเมิน
ประเมินตนเอง วันนี้แต่งตัวเรียบร้อยตั้งใจดูเพื่อนสอน ตั้งใจฟังอาจารย์ให้คำแนะนำและเข้าร่วมกิจกรรมในห้องเรียน เข้าใจเนื้อหาที่อาจารย์สอน
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจดุเพื่อนออกมาสอน และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และจดบันทึกในสิ่งที่อาจารย์ให้คำแนะนำ
ประเมินอาจารย์. อาจารย์แต่งตัวเรียบร้อย ตั้งใจดูนักศึกษาสอนและให้คำแนะนำทุกครั้ง ใส่ใจนักศึกษาทุกคนและให้กำลังใจทุกครั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น